ล้อพูนผล ไรซ์มิลล์ ผู้ประกอบธุรกิจโรงสีข้าวรายใหญ่ในจังหวัดนครสวรรค์ได้ขยับขยายธุรกิจสู่การก่อตั้งนิคมอุตสาหกรรมแอลพีพี นครสวรรค์ ซึ่งเป็น Smart Agriculture Industrial Estate หรือนิคมอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารแบบครบวงจรที่แรกของประเทศไทย โดยมีการใช้แนวคิด Circular Economy เป็นหัวใจสำคัญของการออกแบบนิคมฯ
Author: Thossathip S
แม้ว่าผู้ผลิตในประเทศไทยส่วนใหญ่อาจยังไปไม่ถึงอุตสาหกรรม 4.0 ได้อย่างเต็มรูปแบบ แต่การมาถึงของอุตสาหกรรม 5.0 จะกลายเป็นสิ่งใหม่ที่สามารถช่วยผู้ประกอบการได้อย่างหลากหลายและครบมิติมากกว่าด้วยหัวใจสำคัญที่ยังคงรักษาทักษะ ‘แรงงาน’ เอาไว้ในระบบในฐานะทรัพยากรอันล้ำค่า
ผ่านไปแล้วกับงานแสดงเทคโนโลยีและโซลูชั่นระบบอัตโนมัติสำหรับภาคการผลิตที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออก AUTOMATION EXPO 2024 ซึ่งในปีนี้มีผู้คนเข้าร่วมงานคับคั่งมากขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของงานแสดงสินค้าหรือส่วนของงานสัมมนา โดยผู้จัดงานได้มีการพูดคุยกับผู้เข้าชมงานเพื่อฟังเสียงตอบรับ รวมถึงการค้นหาข้อมูลเชิงลึกบางอย่างที่จะช่วยให้ภาคการผลิตของไทยก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น
การทำ Digital Transformation หรือการลงทุนระบบอัตโนมัติที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้นอาจไม่ได้ประสบความสำเร็จในทุกกรณีที่เกิดขึ้นเสมอไป หนึ่งในความท้าทายสำคัญนอกจากเม็ดเงินลงทุนแล้ว ประเด็นเรื่องของความพร้อมจากด้านแรงงานหรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่มักถูกมองข้าม ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้วปัญหาด้าน Talent แรงงานสูงวัย ตลอดจนความไม่เข้าใจที่เกิดขึ้นต่อการเปลี่ยนแปลงของแรงงานเป็นเสมือนกับสวิตช์สำคัญที่จะเปิดทางให้กับความสามารถในการแข่งขัน
Fourier Intelligence บริษัทจากเซี่ยงไฮ้วางแผนผลิตหุ่นยนต์รุ่น GR-1 จำนวนมาก (Mass Production) ในช่วงปลายปี 2023 ตั้งเป้าส่งมอบหุ่นยนต์มากกว่าพันตัวในปีหน้า โดยจะมีการร่วมมือกับบริษัท AI ชั้นนำเพื่อทำงานด้านสมองของหุ่นยนต์
โลกหลังจากการ Disruption ของเทคโนโลยีการผลิตอัตโนมัติ พลังแห่งดิจิทัล และโควิด 19 นั้นไม่มีอะไรเหมือนเดิมอีกต่อไป ยุคสมัยแห่ง New Normal เป็นสิ่งที่ถูกพูดถึงกันอย่างไม่ขาดสาย แต่เมื่อเวลาผ่านพ้นไปอะไรที่ใหม่ก็กลายเป็นสิ่งเดิม เพื่อการเตรียมพร้อมรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอการและนักอุตสาหกรรมทั้งหลายต้องมองไปถึง Next Normal หรือความธรรมดาอะไรที่จะเกิดขึ้นเป็นบรรทัดฐานต่อไปในการทำงาน โดยเฉพาะสิ่งที่ต่อยอดออกมาจากเทคโนโลยีอย่างการผลิตอัตโนมัติ
เวลาเราพูดถึงการใช้งานหุ่นยนต์กับเจ้าของกิจการ ผู้บริหาร หรือนักธุรกิจ สิ่งที่หลายคนมักจะพูดถึงเป็นอย่างแรก ๆ คือ ประสิทธิภาพในการทำงานของหุ่นยนต์และการทำงานที่มีความอันตรายต่อมนุษย์ ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้วมิติของการใช้งานหุ่นยนต์นั้นมีหลากหลาย และหนึ่งในผลลัพธ์ที่อาจพลิกธุรกิจหรือสร้างความยั่งยืนระยะยาวได้อาจเป็น ‘ความสบาย’ ที่เกิดขึ้นมาจากการใช้งานหุ่นยนต์อีกด้วย
เมื่ออุตสาหกรรมการผลิตยุคใหม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีการผลิตอย่างขาดเสียไม่ได้ การใช้งานหุน่ยนต์และระบบอัตโนมัติจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการแข่งขันในยุคปัจจุบัน แต่จากข้อมูลของ TGI แสดงให้เห็นถึงปัญหาสำคัญสำหรับผู้ผลิตไทยที่ยังไม่เกิดการปรับตัวกว่า 85% ซึ่งอาจอยู่ในสภาวะสิ้นศักยภาพในการแข่งขันภายในระยะเวลาอีกไม่นานนี้
ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัย Georgia สร้างกระเป๋าสะพานหลังที่ติดตั้งอุปกรณ์ AI โดยตั้งเป้าใช้งานทดแทนสุนัขนำทางและไม้เท้าสำหรับผู้พิการทางสายตา โดย Intel ผู้ผลิตชิปประมวลผลรายใหญ่ได้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวด้วยตัวเอง
รู้จัก 5 ขั้นของการใช้ AI ในการการผลิต
การใช้ระบบอัตโนมัติในการผลิตนั้นมีหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การทำงานสนับสนุนมนุษย์ ไปจนถึงการทำงานได้ด้วยตัวเองแบบเต็มศักยภาพ ในการใช้งานระบบอัตโนมัตินั้นสามารถแบ่งลำดับขั้นการบูรณาการออกเป็น 5 ลำดับตามการมีส่วนร่วม